วันศุกร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ปฏิบัติการวาลคิรี สงครามโลกครั้งที่ 2

ปฏิบัติการวาลคิรี (เยอรมัน: Unternehmen Walküre) เป็นแผนปฏิบัติการความต่อเนื่องของรัฐบาลในวาระฉุกเฉิน ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นโดยกองกำลังรักษาดินแดนแห่งเยอรมนี เพื่อที่จะดำเนินการเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศไว้ให้ได้ ในกรณีที่อาจมีความล้มเหลวของรัฐบาลพลเรือน ในความพยายามที่จะควบคุมกิจการพลเรือน แผนการดังกล่าวได้รับการรับรองจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้ตั้งใจวางแผนการดังกล่าวเตรียมพร้อมไว้สำหรับนำมาใช้สถานการณ์ที่เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง ซึ่งอาจสืบเนื่องมาจากการทิ้งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตร หรือการลุกฮือขึ้นก่อจลาจลของผู้ใช้แรงงานจากประเทศที่ถูกยึดครองที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมในเยอรมนี
นายทหารจากกองทัพบกเยอรมัน นายพลฟรีดริช ออลบริชต์ และพลตรีเฮนนิง ฟอน เทรสคอล ได้ปรับปรุงแผนการดังกล่าวเพื่อที่จะใช้ควบคุมหัวเมืองเยอรมนีทั้งหมด ปลดอาวุธหน่วยเอสเอส และจับกุมคณะผู้นำรัฐบาลนาซี หลังจากที่ฮิตเลอร์ถูกลอบสังหารในแผนลับ 20 กรกฎาคมแล้ว การตายของฮิตเลอร์เป็นเรื่องจำเป็นสำหรับความสำเร็จของแผนการก่อรัฐประหาร เพราะการที่ฮิตเลอร์ตายแล้วเท่านั้น (มิใช่เพียงถูกจับกุม)จึงจะเป็นการปลดปล่อยทหารเยอรมันออกจากพันธะภายใต้คำปฏิญาณตนว่าจะจงรักภักดีต่อฮิตเลอร์ได้ เพื่อให้หันมาภักดีต่อคณะรัฐประหารแทน แผนการดังกล่าวได้มีการลงมือในปี ค.ศ. 1944แต่ไม่ประสบความสำเร็จ




พันเอกเคล้าส์ ฟอน สเต๊าฟ์เพนเบิร์ก  ผู้ปฏิบัติการแผน VALKYRIE  เพื่อสังหารฮิตเลอร์

20 กรกฎาคม 1944  อาจเป็นวันธรรมดาวันหนึ่งหากว่ามันไม่ได้อยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองกำลังตึงเครียดถึงขีดสุด จนทำให้วันนี้กลายเป็นหน้าหนึ่งที่ประวัติศาสตร์จะต้องจารึกไว้ แม้ว่าปฏิบัติการในครั้งนั้นจะไม่เสร็จสมบูรณ์ตามที่หวังก็ตาม
ขณะที่แฟรงคลิน ดี.รูสเวลท์ ประธานา ธิบดีแห่งสหรัฐ ซึ่งโดยสารอยู่บนรถไฟเฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน เพิ่งจะตื่นนอน ส่วนเซอร์วินสตัน เชอร์ชิลล์ นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ กำลังรับประทานอาหารเช้าอยู่บนเตียง ในห้องของอาคารแอนเน็กซ์ที่อยู่เหนือห้อง War Room ของคณะรัฐมนตรีบนถนนดาวนิ่ง และจอมพลโจเซฟ สตาลิน กำลังพักผ่อนอยู่ที่บ้านพักในเมืองคุนท์เซโว่ นอกกรุงมอสโก

ระหว่างที่แผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ค่อย ๆ ดำเนินไปตามที่วางไว้ ในช่วงสายฮิตเลอร์ก็ตื่นขึ้นเพื่อมารับฟังรายงานการทิ้งระเบิดในช่วงคืนที่ผ่านมา ก่อนที่ ดร.ธีโอดอร์ มอเรลล์ แพทย์ประจำตัวจะฉีดยากระตุ้นประจำวันให้
ขณะที่แฟรงคลิน ดี.รูสเวลท์ ประธานา ธิบดีแห่งสหรัฐ ซึ่งโดยสารอยู่บนรถไฟเฟอร์ดินานด์ แมกเจลแลน เพิ่งจะตื่นนอน ส่วนเซอร์วินสตัน เชอร์ชิลล์ นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ กำลังรับประทานอาหารเช้าอยู่บนเตียง ในห้องของอาคารแอนเน็กซ์ที่อยู่เหนือห้อง War Room ของคณะรัฐมนตรีบนถนนดาวนิ่ง และจอมพลโจเซฟ สตาลิน กำลังพักผ่อนอยู่ที่บ้านพักในเมืองคุนท์เซโว่ นอกกรุงมอสโก
ระหว่างที่แผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ค่อย ๆ ดำเนินไปตามที่วางไว้ ในช่วงสายฮิตเลอร์ก็ตื่นขึ้นเพื่อมารับฟังรายงานการทิ้งระเบิดในช่วงคืนที่ผ่านมา ก่อนที่ ดร.ธีโอดอร์ มอเรลล์ แพทย์ประจำตัวจะฉีดยากระตุ้นประจำวันให้
ระหว่างที่แผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ค่อย ๆ ดำเนินไปตามที่วางไว้ ในช่วงสายฮิตเลอร์ก็ตื่นขึ้นเพื่อมารับฟังรายงานการทิ้งระเบิดในช่วงคืนที่ผ่านมา ก่อนที่ ดร.ธีโอดอร์ มอเรลล์ แพทย์ประจำตัวจะฉีดยากระตุ้นประจำวันให้
หลังจากนั้นไม่นานพันเอกสเตาเฟนแบร์กก็เดินทางมาถึงสนามบินทหารใกล้กับกองบัญชาการรบฝั่งตะวันออก ที่เรียกว่า โวล์ฟส์ ไลร์
ช่วงเวลาเดียวกันนั้นทั้งจอมพลสตาลิน นายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์ และประธานา ธิบดีรูสเวลท์ ต่างก็กำลังเตรียมวางแผนเพื่อจัดการกับเผด็จการอย่างฮิตเลอร์อยู่ โดยไม่รู้เลยว่านายทหารคนสนิทของฮิตเลอร์เองกำลังปฏิบัติการเพื่อพลิกสถานการณ์อันเลวร้ายอยู่ในอีกไม่กี่นาทีข้างหน้า
ช่วงเวลาเดียวกันนั้นทั้งจอมพลสตาลิน นายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์ และประธานา ธิบดีรูสเวลท์ ต่างก็กำลังเตรียมวางแผนเพื่อจัดการกับเผด็จการอย่างฮิตเลอร์อยู่ โดยไม่รู้เลยว่านายทหารคนสนิทของฮิตเลอร์เองกำลังปฏิบัติการเพื่อพลิกสถานการณ์อันเลวร้ายอยู่ในอีกไม่กี่นาทีข้างหน้า
พันเอกสเตาเฟนแบร์กขอตัวที่จะไม่เข้าร่วมประชุมกับผู้บัญชาการสนามรบวิลเฮล์ม ไคเทล หลังจากเขามาแจ้งเรื่องการประชุมที่ถูกร่นให้เร็วขึ้นครึ่งชั่วโมงให้ทราบ ก่อนจะขอให้ห้องพักผ่อนเพื่อร่วมกับแวร์เนอร์ ฟอน เฮฟ เทน นายทหารคนสนิทประกอบลูกระเบิดที่ลักลอบนำ เข้ามา

แต่ขณะที่ระเบิดลูกที่สองกำลังได้รับการประกอบขึ้นนั้น ทหารรับใช้ได้เข้ามาขัดจังหวะจนทำให้ทั้งคู่ประกอบระเบิดเสร็จสมบูรณ์เพียงลูกเดียว และนั่นคือเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ปฏิบัติการครั้งนี้ไม่สำเร็จตามเป้าหมายที่วางเอาไว้

พันเอกสเตาเฟนแบร์กขอตัวที่จะไม่เข้าร่วมประชุมกับผู้บัญชาการสนามรบวิลเฮล์ม ไคเทล หลังจากเขามาแจ้งเรื่องการประชุมที่ถูกร่นให้เร็วขึ้นครึ่งชั่วโมงให้ทราบ ก่อนจะขอให้ห้องพักผ่อนเพื่อร่วมกับแวร์เนอร์ ฟอน เฮฟ เทน นายทหารคนสนิทประกอบลูกระเบิดที่ลักลอบนำ เข้ามา
แต่ขณะที่ระเบิดลูกที่สองกำลังได้รับการประกอบขึ้นนั้น ทหารรับใช้ได้เข้ามาขัดจังหวะจนทำให้ทั้งคู่ประกอบระเบิดเสร็จสมบูรณ์เพียงลูกเดียว และนั่นคือเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ปฏิบัติการครั้งนี้ไม่สำเร็จตามเป้าหมายที่วางเอาไว้

แต่ขณะที่ระเบิดลูกที่สองกำลังได้รับการประกอบขึ้นนั้น ทหารรับใช้ได้เข้ามาขัดจังหวะจนทำให้ทั้งคู่ประกอบระเบิดเสร็จสมบูรณ์เพียงลูกเดียว และนั่นคือเหตุผลหนึ่งที่ทำให้ปฏิบัติการครั้งนี้ไม่สำเร็จตามเป้าหมายที่วางเอาไว้
ฟอน เฮฟเทน เอาระเบิดลูกที่สองใส่ไว้ในกระเป๋าของเขาแทนที่จะใส่มันไว้ในกระเป๋ากับระเบิดลูกแรก ซึ่งจะถูกนำไปไว้ในที่ประชุมของฮิตเลอร์

แม้ว่าจะไปเข้าร่วมประชุมกับฮิตเลอร์ตามปกติ แต่พันเอกสเตาเฟนแบร์กก็ฉลาดพอที่จะไม่เป็นผู้วางระเบิดนั้นด้วยตัวเอง เพราะเขามีนายทหารคนสนิทอีกคนที่จะทำหน้าที่ในการนำมันไปวางไว้ใกล้ ๆ กับฮิตเลอร์ แผนการครั้งนี้คงจะสมบูรณ์หากว่าพันเอกไฮนซ์ บรันท์ไม่นำกระเป๋าปริศนาใบที่ว่าเคลื่อนย้ายไปจากที่ทางที่มันควรจะอยู่

ฟอน เฮฟเทน เอาระเบิดลูกที่สองใส่ไว้ในกระเป๋าของเขาแทนที่จะใส่มันไว้ในกระเป๋ากับระเบิดลูกแรก ซึ่งจะถูกนำไปไว้ในที่ประชุมของฮิตเลอร์
แม้ว่าจะไปเข้าร่วมประชุมกับฮิตเลอร์ตามปกติ แต่พันเอกสเตาเฟนแบร์กก็ฉลาดพอที่จะไม่เป็นผู้วางระเบิดนั้นด้วยตัวเอง เพราะเขามีนายทหารคนสนิทอีกคนที่จะทำหน้าที่ในการนำมันไปวางไว้ใกล้ ๆ กับฮิตเลอร์ แผนการครั้งนี้คงจะสมบูรณ์หากว่าพันเอกไฮนซ์ บรันท์ไม่นำกระเป๋าปริศนาใบที่ว่าเคลื่อนย้ายไปจากที่ทางที่มันควรจะอยู่
แม้ว่าจะไปเข้าร่วมประชุมกับฮิตเลอร์ตามปกติ แต่พันเอกสเตาเฟนแบร์กก็ฉลาดพอที่จะไม่เป็นผู้วางระเบิดนั้นด้วยตัวเอง เพราะเขามีนายทหารคนสนิทอีกคนที่จะทำหน้าที่ในการนำมันไปวางไว้ใกล้ ๆ กับฮิตเลอร์ แผนการครั้งนี้คงจะสมบูรณ์หากว่าพันเอกไฮนซ์ บรันท์ไม่นำกระเป๋าปริศนาใบที่ว่าเคลื่อนย้ายไปจากที่ทางที่มันควรจะอยู่
ไม่กี่อึดใจหลังจากพันเอกสเตาเฟนแบร์กถูกฟอน เฮฟเทน เรียกออกมาจากกระท่อมประชุมสถานการณ์ ก็มีเสียงระเบิดดังขึ้นสัญญาณเตือนภัยถูกเปิดเพื่อแจ้งการก่อการประทุษร้ายในค่าย พันเอกสเตาเฟนแบร์กพร้อมฟอน เฮฟเทน รีบรุดกลับไปยังสนามบินทหารและขึ้นเครื่องกลับทันที โดยไม่อยู่รอดูผลงานของตัวเองก่อน

การรอดตายอย่างปาฏิหาริย์ในครั้งนี้ทำให้ผู้นำฟาสซิสต์อย่าง เบนิโต้ มุสโสลินี เชื่อว่านั่นคือสัญญาณ ที่บ่งบอกว่าชะตาได้ลิขิตให้ฮิตเลอร์นำนาซีเยอรมันไปสู่ชัยชนะ
ไม่กี่อึดใจหลังจากพันเอกสเตาเฟนแบร์กถูกฟอน เฮฟเทน เรียกออกมาจากกระท่อมประชุมสถานการณ์ ก็มีเสียงระเบิดดังขึ้นสัญญาณเตือนภัยถูกเปิดเพื่อแจ้งการก่อการประทุษร้ายในค่าย พันเอกสเตาเฟนแบร์กพร้อมฟอน เฮฟเทน รีบรุดกลับไปยังสนามบินทหารและขึ้นเครื่องกลับทันที โดยไม่อยู่รอดูผลงานของตัวเองก่อน
การรอดตายอย่างปาฏิหาริย์ในครั้งนี้ทำให้ผู้นำฟาสซิสต์อย่าง เบนิโต้ มุสโสลินี เชื่อว่านั่นคือสัญญาณ ที่บ่งบอกว่าชะตาได้ลิขิตให้ฮิตเลอร์นำนาซีเยอรมันไปสู่ชัยชนะ
การรอดตายอย่างปาฏิหาริย์ในครั้งนี้ทำให้ผู้นำฟาสซิสต์อย่าง เบนิโต้ มุสโสลินี เชื่อว่านั่นคือสัญญาณ ที่บ่งบอกว่าชะตาได้ลิขิตให้ฮิตเลอร์นำนาซีเยอรมันไปสู่ชัยชนะ
ความเชื่อมั่นของพันเอกสเตาเฟนแบร์กที่ว่า ฮิตเลอร์ตายแล้ว กับข้อความที่ถูกแจ้งมาว่า "มีเรื่องร้ายแรงเกิดขึ้น ฟูห์เรอร์ยังมีชีวิตอยู่" โดยไม่มีอะไรยืนยัน ทำให้พันเอกสเตาเฟนแบร์กตัดสินใจออกคำสั่งไปยังผู้บัญชาการกองทัพระดับภูมิภาคทุกนายว่า "ฮิตเลอร์ตายแล้วและกองทัพบกกำลังเข้ายึดอำนาจควบคุมรัฐ เจ้าหน้าที่พรรคนาซีและผู้บัญชาการหน่วยเอสเอสทุกคนต้องถูกจับกุม"
นั่นเท่ากับเป็นการแสดงตัวว่าเขาคือผู้วางระเบิดลูกนั้น ขณะที่ฮิตเลอร์โทรฯ ไปหาโยเซฟ เกิบเบลส์ รัฐมนตรีกระทรวงโฆษณาการพร้อมกับบอกว่าเขายังมีชีวิตอยู่ เมื่อพันเอกสเตาเฟนแบร์กส่งนายพลแอร์นสท์ เรเมอร์มาจับกุม เกิบเบลส์จึงแจ้งคำสั่งของฮิตเลอร์ที่ให้เรเมอร์ควบคุมกรุงเบอร์ลินและนำความสงบเรียบร้อยกลับคืนมา โดยตั้งไฮน์ริค ฮิมเลอร์ ผู้บัญชาการหน่วยเอสเอสเป็นผู้บัญชาการกองทัพชั่วคราว

นั่นเท่ากับเป็นการแสดงตัวว่าเขาคือผู้วางระเบิดลูกนั้น ขณะที่ฮิตเลอร์โทรฯ ไปหาโยเซฟ เกิบเบลส์ รัฐมนตรีกระทรวงโฆษณาการพร้อมกับบอกว่าเขายังมีชีวิตอยู่ เมื่อพันเอกสเตาเฟนแบร์กส่งนายพลแอร์นสท์ เรเมอร์มาจับกุม เกิบเบลส์จึงแจ้งคำสั่งของฮิตเลอร์ที่ให้เรเมอร์ควบคุมกรุงเบอร์ลินและนำความสงบเรียบร้อยกลับคืนมา โดยตั้งไฮน์ริค ฮิมเลอร์ ผู้บัญชาการหน่วยเอสเอสเป็นผู้บัญชาการกองทัพชั่วคราว
หลังจากนั้นมีการประกาศทางวิทยุเยอรมันเกี่ยวกับความพยายามในการลอบสังหารที่ล้มเหลว และฮิตเลอร์ยังมีชีวิตอยู่ เพียงเท่านั้นกบฏในเบอร์ลินก็วงแตก ผู้ร่วมสมคบคิดบางรายแปรพักตร์ ขณะที่ส่วนที่เหลือถูกจับกุมและตัดสินประหารชีวิตทันที


รายชื่อผู้ถูกตัดสินประหาร
Claus von Stauffenbergโดนประหารทันทีที่จับกุมตัว วันที่ 6 สิงหาคม 1944
Wolf HEINRICH  VON  HELLDORF
โดนประหาร  วันที่15 สิงหาคม 1944
ERICH  FELLGIEBEL
โดนประหาร  วันที่  4 กันยายน 1944
DR. CARL  GIERD ELER
ถูกแขวนคอ  วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 1944
ERWIN  VON  WITZLEBEN
โดนประหาร  วันที่8สิงหาคม 1944
FRIERICH  FROMM
โดนประหารวันที่ 12 มีนาคม1945

หลังจากนั้นมีการประกาศทางวิทยุเยอรมันเกี่ยวกับความพยายามในการลอบสังหารที่ล้มเหลว และฮิตเลอร์ยังมีชีวิตอยู่ เพียงเท่านั้นกบฏในเบอร์ลินก็วงแตก ผู้ร่วมสมคบคิดบางรายแปรพักตร์ ขณะที่ส่วนที่เหลือถูกจับกุมและตัดสินประหารชีวิตทันที

รายชื่อผู้ถูกตัดสินประหาร
Claus von Stauffenbergโดนประหารทันทีที่จับกุมตัว วันที่ 6 สิงหาคม 1944
Wolf HEINRICH  VON  HELLDORF
โดนประหาร  วันที่15 สิงหาคม 1944
ERICH  FELLGIEBEL
โดนประหาร  วันที่  4 กันยายน 1944
DR. CARL  GIERD ELER
ถูกแขวนคอ  วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 1944
ERWIN  VON  WITZLEBEN
โดนประหาร  วันที่8สิงหาคม 1944
FRIERICH  FROMM
โดนประหารวันที่ 12 มีนาคม1945

รายชื่อผู้ถูกตัดสินประหาร
Claus von Stauffenbergโดนประหารทันทีที่จับกุมตัว วันที่ 6 สิงหาคม 1944
Wolf HEINRICH  VON  HELLDORF
โดนประหาร  วันที่15 สิงหาคม 1944
ERICH  FELLGIEBEL
โดนประหาร  วันที่  4 กันยายน 1944
DR. CARL  GIERD ELER
ถูกแขวนคอ  วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 1944
ERWIN  VON  WITZLEBEN
โดนประหาร  วันที่8สิงหาคม 1944
FRIERICH  FROMM
โดนประหารวันที่ 12 มีนาคม1945

รายชื่อผู้ถูกตัดสินประหาร 
Claus von Stauffenberg
โดนประหารทันทีที่จับกุมตัว วันที่ 6 สิงหาคม 1944
Wolf HEINRICH  VON  HELLDORF
โดนประหาร  วันที่15 สิงหาคม 1944
ERICH  FELLGIEBEL
โดนประหาร  วันที่  4 กันยายน 1944
DR. CARL  GIERD ELER
ถูกแขวนคอ  วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 1944
ERWIN  VON  WITZLEBEN
โดนประหาร  วันที่8สิงหาคม 1944
FRIERICH  FROMM
โดนประหารวันที่ 12 มีนาคม1945









อาวุธที่ใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1

อาวุธที่ใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1

สงครามครั้งนี้เป็นการรบแบบใหม่ใช้อาวุธที่ผลิตได้จำนวนตามกระบวนการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม อาวุธชนิดใหม่ ได้แก่
            1. ปืนกล (machine gun) ซึ่งมีประสิทธิภาพมาก การป้องกันตัวจากปืนใหญ่และการสาดกระสุนของ
ปืนกลคือการขุดสนามเพลาะ(trench) เป็นแนวยาวเพื่อซุ่มซ่อนตัวเป็นวัน สัปดาห์หรือเดือน
                                           ในภาพ เป็นปืนกลหนัก Vickers หล่อเย็นลำกล้องด้วยน้ำที่อยู่ในท่อรอบๆลำกล้อง
            2.  เครื่องบิน(airplane) ยังเป็นระยะเริ่มต้นพัฒนา โดยเป็นเครื่องบินใบพัดซึ่งบินไม่ได้เร็วนัก ใช้บิน
ลาดตระเวนหรือหย่อนระเบิดพื้นที่เป้าหมาย
Handley Page 0-400 (ENGLAND)

            3. รถถัง(tank) อังกฤษเป็นผู้นำมาใช้ใน พ.ศ. 2459 ทำให้การบุกฝ่าเข้าปในแดนข้าศึกสะดวกขึ้น
Mark-1

            4. เรือดำน้ำ(submarine) เยอรมนีเป็นผู้นำมาใช้เพื่อการยุทธเป็นจำนวนมาก คนไทยในสมัยนั้น
เรียกว่าเรืออู(U-boat) เป็นมหันตภัยสำหรับการขนส่งสินค้าของฝ่ายพันธมิตรมาก


            5. ก๊าซพิษ(poison gas) เป็นการใช้สารเคมีในการทำร้ายคู่ต่อสู้ ซึ่งความรุนแรงของสารเคมีมีตั้งแต่ทำ
            ให้ระคายเคือง อาเจียน ผิวหนังปริแตก หายใจไม่ออก จนกระทั่งรุนแรงถึงขนาดทำให้เสียชีวิตภายในไม่กี่นาที ถือเป็นอาวุธร้ายแรงที่ผลิตง่าย ใช้เวลาน้อยและราคาถูก เช่น ก๊าซน้ำตา ก๊าซมัสตาร์ด ก๊าซไซยาไนด์ และก๊าซทำลายระบบประสาท เป็นต้น เยอรมนีเป็นฝ่ายริเริ่มใช้ก่อน ทำให้ในสงครามนี้ทหารทั้ง 2 ฝ่ายต้องใส่หน้ากากเพื่อป้องกันตนเอง

รวมภาพสงครามโลกครั้งที่ 1

รวมภาพสงครามโลกครั้งที่ 1

















การเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

เป็นสงครามที่เริ่มและมีศูนย์กลางอยู่ในทวีปยุโรป ชนวนเหตุสำคัญของความขัดแย้งเริ่มจาก เมื่อ วันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 เกิดการลอบปลงพระชนม์ อาร์ช ดยุก ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์ มกุฎราชกุมารแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ขณะเสด็จเยือนกรุงซาราเจโว เมืองหลวงของแคว้นบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนา โดย กัฟรีโล ปรินซีป นักชาตินิยมชาวเซอร์เบีย ออสเตรีย-ฮังการี เชื่อว่า เซอร์เบียอยู่เบื้องหลังในการกระทำดังกล่าว จึงยื่นคำขาดต่อราชอาณาจักรเซอร์เบีย เป็นข้อเรียกร้อง 10 ประการ ซึ่งมีเจตนาทำให้ยอมรับไม่ได้และจุดชนวนสงครามขึ้น เมื่อเซอร์เบียยอมตกลงในข้อเรียกร้องเพียง 8 ข้อ ออสเตรีย-ฮังการี จึงประกาศสงครามเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914

           ทั้งนี้ ตัวเร่งไฟสงครามให้โหมกระหน่ำมาจากปมปัญหาเรื่องสมดุลอำนาจที่สั่งสมมานานของหลายประเทศในภาคพื้นยุโรป ทั้งเรื่องการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การแย่งชิงอาณานิคมและระบบภาคีพันธมิตรที่แบ่งเป็น 2 ฝ่ายมหาอำนาจก่อนหน้านี้ โดยแยกเป็น ฝ่ายสัญญาไตรภาคี ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี อิตาลี และฝ่ายสัญญาไตรพันธมิตร ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย ซึ่งชาติพันธมิตรเหล่านี้ รวมถึงชาติอาณานิคมของแต่ละประเทศ ต่างถูกดึงให้เข้าร่วมในสงคราม ทำให้ความขัดแย้งลุกลามไปทั่วโลกอย่างรวดเร็ว




post by RWITB on youtube.com